สมาชิก

รหัสสมาชิก 
รหัสผ่าน 
ฐานข้อมูลออนไลน์
  Facebook ห้องสมุด
 google.com Google
  แนะนำหนังสือ
ฐานข้อมูล หนังสือ


มีสื่อประกอบ



มีสื่อประกอบ



มีสื่อประกอบ



มีสื่อประกอบ

ฐานข้อมูล สื่ออิเล็กทรอนิกส์


มีสื่อประกอบ



มีสื่อประกอบ



มีสื่อประกอบ



มีสื่อประกอบ

คำค้น
 LEADER 
 008 210629 th 000 0 tha d tha d
 016
|a 63126555
 082
|a ร |b น299ผ |c 2560
 100
|a นวรัตน์ ธัญญศิริ
 245
|a ผลการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาโดยใช้โมเดลเลิฟเพื่อสร้างเสริมความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น : รายงานการวิจัย / |c โดย นวรัตน์ ธัญญศิริ
 260
|a กรุงเทพฯ : |b คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, |c 2560
 300
|a ก-ช, 165 แผ่น : |b ภาพประกอบ
 500
|a สนับสนุนโดย เงินทุนเพื่อการวิจัย กองทุนคณะครุศาสตร์ ปี 2559
 650
|a เพศศึกษา |x การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
|a การเรียนรู้ (จิตวิทยา)
|a จิตตปัญญาศึกษา
 710
|a จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
|a โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม
 740
|a Effects of learning management on sex education by using the love model for comprehensive humanization of lower secondary school students
 856
|z
 949
|a ห้องสมุดอาจารย์ (แถบสีเหลือง)
 520
|a การวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ผลการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาโดยใช้ โมเดลเลิฟเพื่อสร้างเสริมความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 2) ผลการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาโดยใช้โมเดลเลิฟที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น และ 3) ความพึงพอใจของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีต่อการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาโดยใช้โมเดลเลิฟ ทั้งนี้กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเจาะจง เป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม จานวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง จานวน 30 คน และกลุ่มควบคุม จานวน 30 คน สาหรับเครื่องมือวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาโดยใช้โมเดลเลิฟ 2) แบบวัดความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ 3) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ 4) แบบวัดความพึงพอใจต่อกิจกรรมการจัดการเรียนรู้โดยใช้โมเดลเลิฟ ซึ่งเครื่องมือได้ผ่านการประเมินคุณภาพด้วยความตรงเชิงเนื้อหา โดยมีค่ามากกว่า 0.5 และมีค่าความเที่ยงรายฉบับ ดังนี้ 1) แบบวัดความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ (ความดี 0.82 ความจริง 0.8 และความรู้ปฏิบัติ 0.8) และ 2) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (ความรู้ 0.83 ทัศนคติ 0.81 และการปฏิบัติ 0.82) ทั้งนี้ ผู้วิจัยเก็บข้อมูลด้วยตนเองและมีการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าที (t-test) และความแปรปรวนพหุคูณ (MANOVA) ตลอดจนใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหาสาหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่า 1) หลังเรียน กลุ่มทดลองมีพัฒนาการที่ดีขึ้น และดีกว่ากลุ่มควบคุมในด้านความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) หลังเรียน กลุ่มทดลองมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่ากลุ่มควบคุม ในด้านความรู้ และทัศนคติ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีคะแนนเฉลี่ยในด้านการปฏิบัติเกี่ยวกับเรื่องเพศศึกษาสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาโดยใช้โมเดลเลิฟอยู่ในระดับมาก ดังนั้น จากผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาโดยใช้โมเดลเลิฟ ช่วย สร้างเสริมความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนมีแนวโน้มในการประพฤติตนไปในทางที่ถูกต้อง และนาไปสู่การลดพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพหรือทางเพศต่อไปได้

 ลำดับ  บาร์โค๊ด  เลขเรียก  สถานะ  ยืม
 1. [ ขอจอง ]  63126555  ร น299ผ 2560  ให้บริการ  ได้
 รายงานการวิจัย | ห้องสมุด รร.สาธิตจุฬาฯ | ห้องสมุดอาจารย์

 ช่วยเหลือ | ไทย / อังกฤษ | 16.2 Gold