มีสื่อประกอบ
|
มีสื่อประกอบ
|
มีสื่อประกอบ
|
มีสื่อประกอบ
|
มีสื่อประกอบ
|
มีสื่อประกอบ
|
มีสื่อประกอบ
|
มีสื่อประกอบ
|
|
เลขทะเบียน | 65128405 | เลขเรียกหนังสือ | ร ร649ผ 2560 | ชื่อผู้แต่ง | รุ่งอรุณ ลียะวณิชย์ | ชื่อเรื่อง | ผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนตามแนวของโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์และภาษาไทยของนักเรียนในโรงเรียนเครือข่าย : การประยุกต์ใช้ทฤษฎียอมรับคุณสมบัติ : รายงานการวิจัย / รุ่งอรุณ ลียะวณิชย์ | สถานที่พิมพ์ | กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560 | ลักษณะรูปเล่ม | ก-ช, 139 หน้า : ภาพประกอบ ; ตาราง | หมายเหตุ | สนับสนุนโดย เงินทุนเพื่อการวิจัย กองทุนคณะครุศาสตร์ พ.ศ. 2558 | หัวเรื่อง | โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายประถม) -- กิจกรรมการเรียนการสอน คณิตศาสตร์ -- กิจกรรมการเรียนการสอน ภาษาไทย -- กิจกรรมการเรียนการสอน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน | ผู้แต่งเพิ่ม(นิติบุคคล) | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | สถานที่จัดเก็บ | ห้องสมุดอาจารย์ (แถบสีดำ) | Book Review | ผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนตามแนวของโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์และภาษาไทยของนักเรียนใน โรงเรียนเครือข่าย : การประยุกต์ใช้ทฤษฎียอมรับคุณสมบัติ วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนตามแนวของโรงเรียน สาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์และ ภาษาไทยของนักเรียนในโรงเรียนเครือข่าย ประชากรคือนักเรียนโรงเรียนศิริมงคลศึกษา จ.นนทบุรี ซึ่งเป็นโรงเรียนเครือข่ายของโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม ที่นำแนวทางการจัดการเรียนการสอน ของโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม ไปปฏิบัติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบบันทึกการสังเกต โครงการสอนระยะยาว แบบนิเทศการสอน แผนการจัดการเรียนรู้ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย แบบสัมภาษณ์ผู้บริหาร ครู และนักเรียน และแบบวัดความ พึงพอใจของผู้บริหาร ครู นักเรียน และผู้ปกครอง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติแบบ t-test independent ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนกลุ่มเก่ง กลุ่มกลาง กลุ่มอ่อน มีคะแนนหลังเรียนในวิชาคณิตศาสตร์และวิชา ภาษาไทยเฉลี่ยสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนกลุ่มเก่ง มีคะแนนเฉลี่ยในวิชาคณิตศาสตร์ และวิชาภาษาไทยหลังเรียนกับ ก่อนเรียนไม่แตกต่างกัน 3. นักเรียนกลุ่มกลางและกลุ่มอ่อน มีคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ และวิชาภาษาไทย หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Effects of using the Teaching and Learning Model of Chulalongkorn University Demonstration Elementary School on Mathematics and Thai Learning Achievement of Students in School Network : The theory of perceibutes The purpose of this study was to study the effect of using the Teaching and Learning Model of Chulalongkorn University Demonstration Elementary School on Mathematics and Thai Learning Achievement of Students in School Network. The subject of the study was Sirimongkolsuksa School Nonthaburi, Chulalongkorn University Demonstration Elementary School’s School Network, who use Chulalongkorn University Demonstration Elementary School’s model. The instruments used in this study were the Observation form, Long plan project, Supervision form, Lesson plans, Mathematics learning achievement test, Thai language learning achievement test, Structured interview form and Satisfaction form. Data were analyzed by using t-test independent. The results of this study were as follows : 1. Students in high ability group, moderate ability group, and low ability group had higher mathematics score and higher thai language score after received treatment than those before received treatment at .05 level of significance. 2. Students in high ability group perform no significantly different in both mathematics and thai language. 3. Students moderate ability group and low ability group had higher mathematics score and higher thai language score after received treatment than those before received treatment at .05 level of significance. |
|
|
|
ลำดับ |
บาร์โค๊ด |
เลขเรียก |
สถานะ |
ยืม |
1.
[ ขอจอง ]
|
65128405 |
ร ร649ผ 2560 |
ให้บริการ |
ได้ |
รายงานการวิจัย | ห้องสมุด รร.สาธิตจุฬาฯ | ห้องสมุดอาจารย์ |
|